PPE Catalogue Lyreco 2023

อุปกรณ์ป้องกันศีรษะและใบหน้า

อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ ข้อบังคับและม�ตรฐ�นั่ิ้ีั

ทะลุนอกจุดศูนย์กลาง (แนวเฉียงหรือในลักษณะแฉลบ) รวมถึงการยึด แน่นของสายรัดคาง 3. สามารถใส่กลับด้าน (Reverse Wearing) หมวกแข็งมีปีกรอบตัว หรือ Full Brim สามารถใส่กลับหน้า-หลัง ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อคุณสมบัติ ด้านการป้องกันอันตราย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสวมใส่ขณะเร่ง ด่วน เป็นค่ากำ าหนดทางเลือก ไม่ใช่การบังคับ แต่ต้องผ่านการทดสอบ จึงจะได้รับรองคุณสมบัติข้อนี้ 4. ต้านทานความเย็นจัด เป็นข้อกำ าหนดไม่บังคับ สำ าหรับหมวกใช้งาน ในสภาพภูมิอากาศหนาวเย็น โดยจะต้องผ่านการทดสอบคุณสมบัติที่ อุณหภูมิ -30 ำ C แทนการทดสอบที่อุณหภูมิ -18 ำ C สำ าหรับหมวก ใช้ งานปกติ หมวกที่ผ่านค่ากำ าหนดนี้จะมีตัวอักษร LT (Low Temperature) พิมพ์บนป้ายกำ ากับหมวก 5. ทัศนวิสัยสูง (High Visibility) เป็นข้อกำ าหนดไม่บังคับ ว่าด้วยการใช้สี ของตัวหมวกที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น หมวกที่ผ่านการทดสอบ การมองเห็นตามข้อกำ าหนดนี้ จะมีตัวอักษร HV บนป้ายกำ ากับหมวก ข้อกำ �หนดม�ตรฐ�นในยุโรป ส่วนในยุโรปจะใช้ม�ตรฐ�น EN เป็นเกณฑ์บังคับซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ดังนี้ 1. EN397 บังคับใช้กับหมวกแข็งนิรภัยสำ าหรับงานอุตสาหกรรมโดยทั่ว ไป (Industrial Hard Hats) 2. EN812 บังคับใช้กับหมวกกันกระทบ (Bump Caps) 3. EN14052 บังคับใช้กับหมวกแข็งนิรภัยประสิทธิภาพสูง สำ าหรับงาน อุตสาหกรรม (High Performance Industrial Helmets) หมวกแข็งนิรภัย ที่มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน EN 14052 เทียบเท่าหมวกนิรภัย Type 2 ตามมาตรฐาน ANSI ซึ่งจะต้องผ่านการทดสอบตามหัวข้อ ดังนี้ 3.1) “รับแรงกระแทก” (Impact Test) มาตรฐาน EN 14052 จะทดสอบ การทิ้งวัตถุลงไปที่หมวก 2 ครั้ง ครั้งแรกใช้โลหะ รูปทั่งนำ้ าหนัก 5 กก. (11 ปอนด์) ทิ้งลงผิวกลางหมวกหรือยอดหมวก จากความสูง 2.04 เมตร (6.5 ฟุต) โดยมีแรงกระทำ าต่อหมวก 100 จูล ครั้งที่สองใช้โลหะอันเดียวกันทิ้งลงบน ผิวด้านข้างหมวกที่จุดใดจุดหนึ่งที่อยู่ระหว่าง 15-60 องศา ด้านหน้าหรือ ด้านหลังหมวก จากความสูง 1.02 เมตร (3.25 เมตร) แรงกระทำ า 50 จูล หมวกต้อง “ผ่าน” ทั้ง 2 ครั้ง จึงจะถือว่า “ผ่าน” การทดสอบรับแรง กระแทก 3.2) “รับแรงเจาะทะลุ” (Penetration) มาตรฐาน EN 14052 จะทดสอบ การทิ้งวัตถุลงไปที่หมวก 2 ครั้ง ครั้งแรกใช้โลหะลักษณะเป็นใบมีดแบน (Flat Blade) นำ้ าหนัก 1 กก. (2.2 ปอนด์) ลงบนผิวยอดหมวกจากความ สูง 2.5 เมตร (8 ฟุต) ครั้งที่สองใช้โลหะเดียวกันทิ้งลงด้านข้างหมวก จากจุดหนึ่งที่อยู่ระหว่าง 15-60 องศา ด้านหน้าหรือด้านหลังหมวก จาก ความสูง 2.04 เมตร (6.5 ฟุต) หมวกต้อง “ผ่าน” ทั้ง 2 ครั้ง จึงจะถือว่า “ผ่าน” การทดสอบรับแรงเจาะทะลุ 3.3) ข้อบังคับการออกแบบ (Design Requirements) ครอบคลุมถึงรูปทรง ที่สอดรับกับการเคลื่อนไหวตามหลักเออร์โกโนมิกส์ ทัศนวิสัยขณะสวม ใส่จะต้อง “ผ่าน” การทดสอบ 3.4) สายรัดคางจะต้อง “ผ่าน” การทดสอบ “ระบบรัดแน่น” (Retention System Effectiveness) ด้วยการทิ้งแท่งโลหะ หนัก 10 กก. ผ่านรอกลงไปที่ ด้านท้ายหมวกขณะสวมศีรษะของหุ่น โดยหมวกจะต้องไม่หลุดออกจาก ศีรษะหุ่นจากนั้นทดสอบซำ้ าลักษณะเดียวกันที่ด้านหน้าหมวก

Wear Safety Helmet สำ �นักบริห�รสุขภ�พและคว�ม ปลอดภัยแห่งช�ติสหรัฐ OSHA (Occupat ional Safety and HealthAdministration) ออก ข้อบังคับก�รสวมหมวกนิรภัย ขณะปฏิบัติง�น เรียกว่� “29 CFR 1910.135” ซึ่งมีส�ระสำ �คัญ ดังนี้ 1. นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างสวมหมวกนิรภัยขณะปฏิบัติงานในพื้นที่มี แนวโน้มจะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะจากวัสดุที่ตกลงมา 2. นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างสวมหมวกแข็งนิรภัยที่ออกแบบมาเพื่อลด อันตรายจากกระแสไฟฟ้าขณะปฏิบัติงานใกล้กับตัวนำ ากระแสไฟฟ้า ซึ่งอาจ สัมผัสกับหมวกแข็งได้ 3. หมวกแข็งนิรภัยต้องมีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานหนึ่ง หรือมากกว่า ดังต่อไปนี้ ANSI Z89.1-2003, ANSI Z89.1-1997, ANSI Z89.1-1986 *หม�ยเหตุ ANSI ฉบับล่�สุดคือ ANSI/ISEA Z89.1-2009 4. อุปกรณ์ป้องกันศีรษะใดๆ ที่นายจ้างแสดงหลักฐานจะต้องมีคุณสมบัติ อย่างน้อยที่สุดตรงตามมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งข้างต้น ข้อกำ าหนดมาตรฐาน ANSI Z89.1-2003 หมวกแข็งนิรภัยจะถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะเฉพาะของหมวก ได้แก่ 1. Type 1 สามารถรับแรงกระแทกเฉพาะที่ตกลงกลางหมวก 2. Type 2 สามารถรับแรงกระแทกได้ทั้งที่ตกลงกลางหมวกและกระแทก ด้านข้างหมวก นอกจ�กนี้ ยังแบ่งออกเป็นชั้น (Class) ต�มคุณสมบัติ ก�รต้�นท�น แรงกระแทกจ�กวัตถุตกหล่น และลดอันตร�ย จ�กก�รสัมผัสตัวนำ � กระแสไฟฟ้� ดังต่อไปนี้ 1. Class E ลดอันตรายจากการสัมผัสตัวนำ ากระแสไฟฟ้าแรงดันสูง (High Voltage Electrical Conductors) และต้องผ่านการทดสอบการต้านทาน กระแสไฟฟ้าที่ 20,000 โวลต์ 2. Class G ลดอันตรายจากการสัมผัสตัวนำ ากระแสไฟฟ้าแรงดันตำ่ า (Low Voltage Electrical Conductors) และต้องผ่านการทดสอบการต้านทาน กระแสไฟฟ้าที่ 2,200 โวลต์ 3. Class C ไม่มีคุณสมบัติป้องกันอันตรายจากการสัมผัสตัวนำ ากระแสไฟฟ้า ข้อกำ �หนดม�ตรฐ�น ANSI/ISEA Z89.1-2009 ยังคงค่�กำ �หนดประสิทธิภ�พและก�รทดสอบสำ �หรับหมวกแข็ง นิรภัยใช้ในง�นอุตส�หกรรมม�ตรฐ�น ฉบับปี 2003 ไว้ และเพิ่มเติม ค่�กำ �หนดใหม่เข้�ม� ได้แก่ 1. ค่าแรงต้านทานแรงกระแทกลงบนยอดหมวกสำ าหรับหมวก Type 1 และค่าความต้านทานแรงกระแทกจากด้านข้างรอบตัวหมวกสำ าหรับหมวก Type 2 2. หมวกแข็ง Type 1 และ Type 2 ตามมาตรฐาน ANSI/ISEA Z89.1-2009 ต้องผ่านการทดสอบการรับแรงกระแทกตามค่ากำ าหนดใหม่ (ค่าบังคับ) โดยเฉพาะ Type 2 ต้องผ่านการทดสอบรับแรงกระแทกทั่วทั้งตัวหมวก ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน ด้านข้าง ซ้าย ขวา และแรงเจาะ

08

อุปกรณ์ป้องกันภััยส่่วนบุคคล

191

ßจัดัส่่งส่ินค้า'รีในวันทQ าการ ัดัไปà Qั

Made with FlippingBook - Online catalogs