Lyreco PPE TH 2019
08
อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ
อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ ข้อบังคับและมาตรฐาน
ทะลุนอกจุดศูนย์กลาง (แนวเฉียงหรือในลักษณะแฉลบ) รวมถึงการยึด แน่นของสายรัดคาง 3. สามารถใส่กลับด้าน (Reverse Wearing) หมวกแข็งมีปีกรอบตัว หรือ Full Brim สามารถใส่กลับหน้า-หลัง ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อคุณสมบัติ ด้านการป้องกันอันตราย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการสวมใส่ขณะเร่ง ด่วน เป็นค่าก�ำหนดทางเลือก ไม่ใช่การบังคับ แต่ต้องผ่านการทดสอบจึง จะได้รับรองคุณสมบัติข้อนี้ 4. ต้านทานความเย็นจัด เป็นข้อก�ำหนดไม่บังคับ ส�ำหรับหมวกใช้งาน ในสภาพภูมิอากาศหนาวเย็น โดยจะต้องผ่านการทดสอบคุณสมบัติ ที่อุณหภูมิ -30 ํC แทนการทดสอบที่อุณหภูมิ -18 ํC ส�ำหรับหมวก ใช้ งานปกติ หมวกที่ผ่านค่าก�ำหนดนี้จะมีตัวอักษร LT (Low Temperature) พิมพ์บนป้ายก�ำกับหมวก 5. ทัศนวิสัยสูง (High Visibility) เป็นข้อก�ำหนดไม่บังคับ ว่าด้วยการใช้สี ของตัวหมวกที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น หมวกที่ผ่านการทดสอบ การมองเห็นตามข้อก�ำหนดนี้ จะมีตัวอักษร HV บนป้ายก�ำกับหมวก ข้อก�ำหนดมาตรฐานในยุโรป ส่วนในยุโรปจะใช้มาตรฐาน EN เป็นเกณฑ์บังคับซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ดังนี้ 1. EN397 บังคับใช้กับหมวกแข็งนิรภัยส�ำหรับงานอุตสาหกรรมโดยทั่ว ไป (Industrial Hard Hats) 2. EN812 บังคับใช้กับหมวกกันกระทบ (Bump Caps) 3. EN14052 บังคับใช้กับหมวกแข็งนิรภัยประสิทธิภาพสูง ส�ำหรับงาน อุตสาหกรรม (High Performance Industrial Helmets) หมวกแข็งนิรภัย ที่มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน EN 14052 เทียบเท่าหมวกนิรภัย Type 2 ตามมาตรฐาน ANSI ซึ่งจะต้องผ่านการทดสอบตามหัวข้อ ดังนี้ 3.1) “รับแรงกระแทก” (Impact Test) มาตรฐาน EN 14052 จะทดสอบ การทิ้งวัตถุลงไปที่หมวก 2 ครั้ง ครั้งแรกใช้โลหะ รูปทั่งน�้ำหนัก 5 กก. (11 ปอนด์) ทิ้งลงผิวกลางหมวกหรือยอดหมวก จากความสูง 2.04 เมตร (6.5 ฟุต) โดยมีแรงกระท�ำต่อหมวก 100 จูล ครั้งที่สองใช้โลหะอันเดียวกันทิ้งลงบน ผิวด้านข้างหมวกที่จุดใดจุดหนึ่งที่อยู่ระหว่าง 15-60 องศา ด้านหน้าหรือ ด้านหลังหมวก จากความสูง 1.02 เมตร (3.25 เมตร) แรงกระท�ำ 50 จูล หมวกต้อง “ผ่าน” ทั้ง 2 ครั้ง จึงจะถือว่า “ผ่าน” การทดสอบรับแรง กระแทก 3.2) “รับแรงเจาะทะลุ” (Penetration) มาตรฐาน EN 14052 จะทดสอบ การทิ้งวัตถุลงไปที่หมวก 2 ครั้ง ครั้งแรกใช้โลหะลักษณะเป็นใบมีดแบน (Flat Blade) น�้ำหนัก 1 กก. (2.2 ปอนด์) ลงบนผิวยอดหมวกจากความ สูง 2.5 เมตร (8 ฟุต) ครั้งที่สองใช้โลหะเดียวกันทิ้งลงด้านข้างหมวก จากจุดหนึ่งที่อยู่ระหว่าง 15-60 องศา ด้านหน้าหรือด้านหลังหมวก จาก ความสูง 2.04 เมตร (6.5 ฟุต) หมวกต้อง “ผ่าน” ทั้ง 2 ครั้ง จึงจะถือว่า “ผ่าน” การทดสอบรับแรงเจาะทะลุ 3.3) ข้อบังคับการออกแบบ (Design Requirements) ครอบคลุมถึงรูปทรง ที่สอดรับกับการเคลื่อนไหวตามหลักเออร์โกโนมิกส์ ทัศนะวิสัยขณะสวม ใส่จะต้อง “ผ่าน” การทดสอบ 3.4) สายรัดคางจะต้อง “ผ่าน” การทดสอบ “ระบบรัดแน่น” (Retention System Effectiveness) ด้วยการทิ้งแท่งโลหะ หนัก 10 กก. ผ่านรอกลงไปที่ ด้านท้ายหมวกขณะสวมศีรษะของหุ่น โดยหมวกจะต้องไม่หลุดออกจาก ศีรษะหุ่นจากนั้นทดสอบซ�้ำลักษณะเดียวกันที่ด้านหน้าหมวก
Wear Safety Helmet ส�ำนักบริหารสุขภาพและความ ปลอดภัยแห่ งชาติสหรัฐหรือ OSHA (Occupational Safety and HealthAdministration) ออก ข้ อ บังคับการสวมหมวกนิรภัยขณะ ปฏิบัติงาน เรียกว่ า “29 CFR 1910.135” ซึ่งมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ 1. นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างสวมหมวกนิรภัยขณะปฏิบัติงานในพื้นที่มี แนวโน้มจะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะจากวัสดุที่ตกลงมา 2. นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างสวมหมวกแข็งนิรภัยที่ออกแบบมาเพื่อลด อันตรายจากกระแสไฟฟ้าขณะปฏิบัติงานใกล้กับตัวน�ำกระแสไฟฟ้า ซึ่งอาจ สัมผัสกับหมวกแข็งได้ 3. หมวกแข็งนิรภัยต้องมีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานหนึ่ง หรือมากกว่า ดังต่อไปนี้ ANSI Z89.1-2003, ANSI Z89.1-1997, ANSI Z89.1-1986 *หมายเหตุ ANSI ฉบับล่าสุดคือ ANSI/ISEA Z89.1-2009 4. อุปกรณ์ป้องกันศีรษะใดๆ ที่นายจ้างแสดงหลักฐานจะต้องมีคุณสมบัติ อย่างน้อยที่สุดตรงตามมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งข้างต้น ข้อก�ำหนดมาตรฐาน ANSI Z89.1-2003 หมวกแข็งนิรภัยจะถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะเฉพาะของหมวก ได้แก่ 1. Type 1 สามารถรับแรงกระแทกเฉพาะที่ตกลงกลางหมวก 2. Type 2 สามารถรับแรงกระแทกได้ทั้งที่ตกลงกลางหมวกและกระแทก ด้านข้างหมวก นอกจากนี้ ยังแบ่งออกเป็นชั้น (Class) ตามคุณสมบัติ การต้านทาน แรงกระแทกจากวัตถุตกหล่น และลดอันตราย จากการสัมผัสตัวน�ำ กระแสไฟฟ้า ดังต่อไปนี้ 1. Class E ลดอันตรายจากการสัมผัสตัวน�ำกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง (High- Voltage Electrical Conductors) และต้องผ่านการทดสอบการต้านทาน กระแสไฟฟ้าที่ 20,000 โวลต์ 2. Class G ลดอันตรายจากการสัมผัสตัวน�ำกระแสไฟฟ้าแรงดันต�่ำ (Low- Voltage Electrical Conductors) และต้องผ่านการทดสอบการต้านทาน กระแสไฟฟ้าที่ 2,200 โวลต์ 3. Class C ไม่มีคุณสมบัติป้องกันอันตรายจากการสัมผัสตัวน�ำกระแสไฟฟ้า ข้อก�ำหนดมาตรฐาน ANSI/ISEA Z89.1-2009 ยังคงค่าก�ำหนดประสิทธิภาพและการทดสอบส�ำหรับหมวกแข็ง นิรภัยใช้ในงานอุตสาหกรรมมาตรฐาน ฉบับปี 2003 ไว้ และเพิ่มเติม ค่าก�ำหนดใหม่เข้ามา ได้แก่ 1. ค่าแรงต้านทานแรงกระแทกลงบนยอดหมวกส�ำหรับหมวก Type 1 และค่าความต้านทานแรงกระแทกจากด้านข้างรอบตัวหมวกส�ำหรับหมวก Type 2 2. หมวกแข็ง Type 1 และ Type 2 ตามมาตรฐาน ANSI/ISEA Z89.1-2009 ต้องผ่านการทดสอบการรับแรงกระแทกตามค่าก�ำหนดใหม่ (ค่าบังคับ) โดยเฉพาะ Type 2 ต้องผ่านการทดสอบรับแรงกระแทกทั่วทั้งตัวหมวก ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน ด้านข้าง ซ้าย ขวา และแรงเจาะ
119
Made with FlippingBook HTML5