Lyreco PPE TH 2019

07

ข้อมูลส�ำคัญและข้อปฏิบัติต่อความปลอดภัย การป้องกันดวงตา (Eye Protection)

มาตรฐาน ANSI Z87.1-2003 1. การทดสอบกรอบแว่น

3. การทนการกัดกร่อน ชิ้นโลหะจะถูกต้มในน�้ำเกลือ 10% เป็นเวลา 15 นาที แล้วแช่ต่อ ที่อุณหภูมิห้อง น�ำออกมาตากให้แห้ง 24 ชั่วโมง แล้วน�ำชิ้นส่วนโลหะ จุ่มล้างในน�้ำอุ่นและตากให้แห้ง แว่นสายตาจะต้องไม่ช�ำรุดจากการ กัดกร่อน 4. การทนไฟ ชิ้นส่วนอุปกรณ์จะถูกทดสอบการทนไฟตาม ASTM D635-1998 5. การระบุบนกรอบแว่นตา ส่วนประกอบหลักของกรอบแว่นตาทั้งหมดจะต้องมีการระบุ เครื่องหมายของ ผู้ผลิตและเครื่องหมาย "Z87" เพื่อแสดงถึงการผ่าน มาตรฐาน ในส่วนของกรอบของแว่นสายตาจะต้องระบุเครื่องหมาย "Z87-2" และต้องผ่านข้อก�ำหนดของมาตรฐาน Z80.5-1997 ส�ำหรับแว่นแบบถอดเลนส์ไม่ได้ แว่นจะระบุเครื่องหมายเพียงที่ เดียวคือ Z87 (ส�ำหรับการป้องกันการกระแทกระดับพื้นฐาน) หรือ Z87+ (ส�ำหรับการป้องกันการกระแทกระดับสูง) เครื่องหมายอาจถูกระบุ บนกรอบหรือที่รองจมูก ส�ำหรับ goggle และกระบังหน้ า หรือ กระบังหน้ าหมวก เครื่องหมาย Z87 หรือ Z87+ นี้สามารถระบุบริเวณองค์ประกอบใดๆ ก็ได้ รวมถึงเลนส์

ในปัจจุบันมาตรฐานกรอบแว่น ตัวแว่น หรือส่วนที่ติดกับหัว จะถูก ทดสอบ โดยการติดตั้งเลนส์ที่ผ่านการทดสอบแล้วซึ่งมีความแข็งแรงพอ ที่จะทดสอบ แบบมวลสูงและความเร็วสูง - ในการทดสอบมวลสารสูง วัตถุหนัก 500 กรัม หล่นจากที่สูง 130 ซม. (51.2 นิ้ว) มาตรง จุด ที่ก�ำหนดแล้วไม่มีส่วนหรือเศษของอุปกรณ์มาสัมผัสดวงตาของหุ่น ทดสอบ ทดสอบสี่ตัวอย่าง โดยจะต้องผ่านทั้งหมด - ในการทดสอบความเร็วสูง ลูกบอลเหล็กขนาด 6.35 มม. (0.25 นิ้ว) ถูกยิงออกมาด้วยความเร็ว ที่เหมาะกับการทดสอบแต่ละประเภท โดยไม่มีเศษของอุปกรณ์มาสัมผัส ดวงตา ทดสอบตัวอย่างทั้งหมด 20 แบบ โดยไม่สามารถล้มเหลวได้ แม้แต่ครั้งเดียว 2. การทดสอบเลนส์ อุปกรณ์ป้องกันดวงตาจะถูกจัดตามประสิทธิภาพทั้งแบบพื้นฐาน หรือแบบทนแรงกระแทกสูง การทดสอบจะทดสอบอุปกรณ์โดยรวม ทั้งหมด โดยไม่มีการแบ่งว่าอุปกรณ์สามารถถอดเลนส์ได้หรือไม่ โดยรุ่น แบบพื้นฐานจะทดสอบความสามารถในการทนแรงกระแทกจากลูกบอล ขนาด 25.4 มม. (1 นิ้ว) ที่ตกลงมา 127 ซม. (50 นิ้ว) และรุ่นทนแรง กระแทกสูงจะต้องผ่านการทดสอบมวลสูง และการทดสอบความเร็วสูง การแบ่งประเภทพื้นฐานและระดับสูงสามารถใช้กับแว่นสายตา ได้ด้วย ส่วนการทดสอบการเจาะยังคงใช้กับเลนส์ พลาสติกที่ไม่ใช่ เลนส์สายตาทั้งหมดทั้งแบบพื้นฐานหรือแบบทนแรงกระแทกสูง เลนส์ พลาสติกต้องสามารถรับแรงกระแทกของเข็มหนัก 44 กรัม ตกลงมา 127 ซม. (50 นิ้ว) เลนส์ต้องไม่แตกหรือถูกเจาะทะลุ

ข้อเปรียบเทียบของวัสดุที่ใช้ท�ำเลนส์แว่นตานิรภัย

วัสดุ

ข้อดี

ข้อเสีย

- ป้องกันรอยขีดข่วน - มองเห็นภาพได้ชัดเจน - กรองรังสีอินฟาเรด - มีเลนส์ออกแบบพิเศษให้เลือกจ�ำนวนมาก - เป็นวัสดุที่แข็งแรงที่สุดส�ำหรับกันกระแทก - มีน�้ำหนักเบากว่ากระจก 37% - มีความยืดหยุ่นมากกว่ากระจก - สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ง่าย - มองเห็นภาพชัดเจน 91% - แข็งแรงกว่ากระจก - มีสีให้เลือกมากกว่าโพลีคาร์บอเนต - มีน�้ำหนักเบา เบากว่ากระจก 41% - เศษโลหะเกาะติดน้อยมาก

- กันแรงกระแทกในระดับทั่วไป - เกิดรอยแตกง่ายจากการทดสอบแรงกระแทก - มีน�้ำหนักมากกว่าโพลีคาร์บอเนตและพลาสติก

กระจก Glass

โพลีคาร์บอเนต Polycarbonate (PC)

- เป็นรอยขีดข่วนง่ายกว่ากระจก - มีสีจ�ำกัด

- เป็นรอยขีดข่วนง่ายกว่าโพลีคาร์บอเนต - กันกระแทกได้น้อยกว่าโพลีคาร์บอเนต

พลาสติก Plastic

101

Made with FlippingBook HTML5